วันเสาร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558
สัปดาห์ที่ 8
เรื่องการวัดผลและประเมินผล
การวัดผล (Measurement) คือการกำหนดตัวเลขให้กับวัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ ปรากฎการณ์ หรือพฤติกรรมต่าง ๆ หรืออาจใช้เครื่องมือไปวัดเพื่อให้ได้ตัวเลขแทนคุณลักษณะต่าง ๆ เช่น ใช้ไม้บรรทัดวัดความกว้างของหนังสือได้ 3.5 นิ้ว ใช้เครื่องชั่งวัดน้ำหนักของเนื้อหมูได้ 0.5 กิโลกรัม ใช้แบบทดสอบวัดความรอบรู้ในวิชาภาษาไทยของเด็กชายแดงได้ 42 คะแนน เป็นต้น การวัดผลแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. วัดทางตรง วัดคุณลักษณะที่ต้องการโดยตรง เช่น ส่วนสูง น้ำหนัก ฯลฯ มาตราวัดจะอยู่ในระดับ Ratio Scale 2. วัดทางอ้อม วัดคุณลักษณะที่ต้องการโดยตรงไม่ได้ ต้องวัดโดยผ่านกระบวนการทางสมอง เช่น วัดความรู้ วัดเจตคติ วัดบุคลิกภาพ ฯลฯ มาตราวัดจะอยู่ในระดับ Interval Scale การวัดทางอ้อมแบ่งออกเป็น 3 ด้านคือ 2.1 ด้านสติปัญญา (Cognitive Domain) เช่น วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วัดเชาวน์ปัญญา วัดความถนัดทางการเรียน วัดความคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ 2.2 ด้านความรู้สึก (Affective Domain) เช่น วัดความสนใจ วัดเจตคติ วัดบุคลิกภาพ วัดความวิตกกังวล วัดจริยธรรม ฯลฯ 2.3 ด้านทักษะกลไก (Psychomotor Domain) เช่น การเคลื่อนไหว การปฏิบัติโดยใช้เครื่องมือ ฯลฯ การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การนำเอาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดรวมกับการใช้วิจารณญาณของผู้ประเมินมาใช้ในการตัดสินใจ โดยการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ เพื่อให้ได้ผลเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เนื้อหมูชิ้นนี้หนัก 0.5 กิโลกรัมเป็นเนื้อหมูชิ้นที่เบาที่สุดในร้าน (เปรียบเทียบกันภายในกลุ่ม) เด็กชายแดงได้คะแนนวิชาภาษาไทย 42 คะแนนซึ่งไม่ถึง 50 คะแนนถือว่าสอบไม่ผ่าน (ใช้เกณฑ์ที่ครูสร้างขึ้น) เป็นต้น การประเมินผลแบ่งได้เป็น 2 ประเภท การประเมินแบบอิงกลุ่มและการประเมินแบบอิงเกณฑ์ 1. การประเมินแบบอิงกลุ่ม เป็นการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบหรือผลงานของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่น ๆ ที่ได้ทำแบบทดสอบเดียวกันหรือได้ทำงานอย่างเดียวกัน นั่นคือเป็นการใช้เพื่อจำแนกหรือจัดลำดับบุคคลในกลุ่ม การประเมินแบบนี้มักใช้กับการ การประเมินเพื่อคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ หรือการสอบชิงทุนต่าง ๆ 2. การประเมินแบบอิงเกณฑ์ เป็นการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบหรือผลงานของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับเกณฑ์หรือจุดมุ่งหมายที่ได้กำหนดไว้ เช่น การประเมินระหว่างการเรียนการสอนว่าผู้เรียนได้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ได้กำหนดไว้หรือไม่ข้อแตกต่างระหว่างการประเมิน
สรุป การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม 1. เป็นการเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนของคนอื่น ๆ 2. นิยมใช้ในการสอบแข่งขัน 3. คะแนนจะถูกนำเสนอในรูปของร้อยละหรือคะแนนมาตรฐาน 4. ใช้แบบทดสอบเดียวกันทำหรับผู้เรียนทั้งกลุ่มหรืออาจใช้แบบทดสอบคู่ขนาน เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ 5. แบบทดสอบมีความยากง่ายพอเหมาะ มีอำนาจจำแนกสูง 6. เน้นความเที่ยงตรงทุกชนิด
เรื่องการวัดผลและประเมินผล
สรุป
เอกสารชุดนี้จัดทำโดย : ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. เมษายน ๒๕๔๔
วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2558
เรื่อง การประยุกต์ใช้ UNESCO Model
สัปดาห์ที่ 7 เรื่อง การประยุกต์ใช้ UNESCO Model
การออกแบบการจัดการเรียนรูโดยวิธี Backward Design หลักการแนวคิด Backward Design Backward Design หรือการออกแบบยอนกลับ เปนกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู ที่กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตาม มาตรฐานการเรียนรูหรือตามผลการเรียนรูที่คาดหวังกอน แลวจึงออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหผูเรยนม ี ีความรูความสามารถและแสดงความรูความสามารถตามหลักฐานการแสดงออก ของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนที่กําหนดไววธิีนี้ไดเผยแพรโดย Grant Wiggins และ Jay McTighe เมื่อค.ศ.1998 ไดใหแนวการออกแบบการจัดการเรียนรสู ําหรับ 1 หนวยการเรยนร ี ูไว 3 ขั้นตอนใหญๆ ไดแก ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผเรู ียนที่ตองการใหเกิดขึ้น(Identify desired results) ตามมาตรฐานการเรียนรู/ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน ื้ ขั้นที่ 2 กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียนที่ตองการใหเกิดขึ้น หลังจากไดเรียนรูแลว ซึ่งเปนหลักฐานการแสดงออกที่ยอมรับไดวา ผูเรียนมีความรูความสามารถตามที่กําหนดไว (Determine acceptable evidence of learning) ขั้นที่ 3 ออกแบบการจัดประสบการณการเรียนรู(Plan learning experiences and instruction) เพื่อใหผูเรียนไดแสดงออกตามหลักฐานการแสดงออกที่ระบุไวในขนทั้ ี่ 2 เพื่อเปนหลักฐานวา ผูเรียนมี ความรูความสามารถตามทกี่ ําหนดไวในขนทั้ ี่ 1 แตละขั้นตอนมีรายละเอียดโดยสรุป ดังนี้ ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผเรู ียนที่ตองการ(Identify desired results)คือ ครูผูสอนจะตองว ิเคราะหใหไดวา ในหลักสูตร/มาตรฐานการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ออกแบบ กําหนดไววาผเรู ียนจะตองมีความรูความเขาใจเรื่องอะไร ตองมีความสามารถทําอะไรได และสาระ/ความรูและความสามารถอะไร ที่ควรเปนความเขาใจคงทนที่ติดตัวผูเรียนไปเปนเวลานาน (Enduring understandings- “ความเขาใจที่คงทน”) ในการจัดทําหนวยการเรียนรูและกาหนดความร ํ ู ความสามารถ ของผูเรียนที่ตองการใหเกิดขึ้นนี้ครูผสอนต ู องพิจารณาพันธกิจเปาประสงคและ คุณลักษณะอนพั ึงประสงคของหล ักสูตรสถานศึกษาและพิจารณามาตรฐานการเรียนรูของหนวยการเรียนรู ที่กําลังออกแบบการจัดการเรียนรูดวย ในขั้นแรกนี้มวีิธีการพิจารณาเพื่อการเตรียมการจัดการเรยนร ี ูใหชัดเจนขึ้น ซึ่ง Wiggins และ McTighe แนะนําใหใช กรอบความคิด 3 วง เปนเกณฑการพ ิจารณาเพื่อการจัดลําดับเนอหาสาระท ื้ ี่จะ ใหกับผูเรยนได ี
ที่มา ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศกสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.
)
การออกแบบการจัดการเรียนรูโดยวิธี Backward Design หลักการแนวคิด Backward Design Backward Design หรือการออกแบบยอนกลับ เปนกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู ที่กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตาม มาตรฐานการเรียนรูหรือตามผลการเรียนรูที่คาดหวังกอน แลวจึงออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหผูเรยนม ี ีความรูความสามารถและแสดงความรูความสามารถตามหลักฐานการแสดงออก ของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนที่กําหนดไววธิีนี้ไดเผยแพรโดย Grant Wiggins และ Jay McTighe เมื่อค.ศ.1998 ไดใหแนวการออกแบบการจัดการเรียนรสู ําหรับ 1 หนวยการเรยนร ี ูไว 3 ขั้นตอนใหญๆ ไดแก ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผเรู ียนที่ตองการใหเกิดขึ้น(Identify desired results) ตามมาตรฐานการเรียนรู/ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน ื้ ขั้นที่ 2 กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียนที่ตองการใหเกิดขึ้น หลังจากไดเรียนรูแลว ซึ่งเปนหลักฐานการแสดงออกที่ยอมรับไดวา ผูเรียนมีความรูความสามารถตามที่กําหนดไว (Determine acceptable evidence of learning) ขั้นที่ 3 ออกแบบการจัดประสบการณการเรียนรู(Plan learning experiences and instruction) เพื่อใหผูเรียนไดแสดงออกตามหลักฐานการแสดงออกที่ระบุไวในขนทั้ ี่ 2 เพื่อเปนหลักฐานวา ผูเรียนมี ความรูความสามารถตามทกี่ ําหนดไวในขนทั้ ี่ 1 แตละขั้นตอนมีรายละเอียดโดยสรุป ดังนี้ ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผเรู ียนที่ตองการ(Identify desired results)คือ ครูผูสอนจะตองว ิเคราะหใหไดวา ในหลักสูตร/มาตรฐานการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ออกแบบ กําหนดไววาผเรู ียนจะตองมีความรูความเขาใจเรื่องอะไร ตองมีความสามารถทําอะไรได และสาระ/ความรูและความสามารถอะไร ที่ควรเปนความเขาใจคงทนที่ติดตัวผูเรียนไปเปนเวลานาน (Enduring understandings- “ความเขาใจที่คงทน”) ในการจัดทําหนวยการเรียนรูและกาหนดความร ํ ู ความสามารถ ของผูเรียนที่ตองการใหเกิดขึ้นนี้ครูผสอนต ู องพิจารณาพันธกิจเปาประสงคและ คุณลักษณะอนพั ึงประสงคของหล ักสูตรสถานศึกษาและพิจารณามาตรฐานการเรียนรูของหนวยการเรียนรู ที่กําลังออกแบบการจัดการเรียนรูดวย ในขั้นแรกนี้มวีิธีการพิจารณาเพื่อการเตรียมการจัดการเรยนร ี ูใหชัดเจนขึ้น ซึ่ง Wiggins และ McTighe แนะนําใหใช กรอบความคิด 3 วง เปนเกณฑการพ ิจารณาเพื่อการจัดลําดับเนอหาสาระท ื้ ี่จะ ใหกับผูเรยนได ี
ที่มา ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศกสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.
)
วันเสาร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558
เรื่อง การประยุกต์ใช้ UNESCO Model
สัปดาห์ที่ 6
การออกแบบการจัดการเรียนรูโดยวิธี Backward Design หลักการแนวคิด Backward Design Backward Design หรือการออกแบบยอนกลับ เปนกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู ที่กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตาม มาตรฐานการเรียนรูหรือตามผลการเรียนรูที่คาดหวังกอน แลวจึงออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหผูเรยนม ี ีความรูความสามารถและแสดงความรูความสามารถตามหลักฐานการแสดงออก ของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนที่กําหนดไววธิีนี้ไดเผยแพรโดย Grant Wiggins และ Jay McTighe เมื่อค.ศ.1998 ไดใหแนวการออกแบบการจัดการเรียนรสู ําหรับ 1 หนวยการเรยนร ี ูไว 3 ขั้นตอนใหญๆ ไดแก ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผเรู ียนที่ตองการใหเกิดขึ้น(Identify desired results) ตามมาตรฐานการเรียนรู/ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน ื้ ขั้นที่ 2 กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียนที่ตองการใหเกิดขึ้น หลังจากไดเรียนรูแลว ซึ่งเปนหลักฐานการแสดงออกที่ยอมรับไดวา ผูเรียนมีความรูความสามารถตามที่กําหนดไว (Determine acceptable evidence of learning) ขั้นที่ 3 ออกแบบการจัดประสบการณการเรียนรู(Plan learning experiences and instruction) เพื่อใหผูเรียนไดแสดงออกตามหลักฐานการแสดงออกที่ระบุไวในขนทั้ ี่ 2 เพื่อเปนหลักฐานวา ผูเรียนมี ความรูความสามารถตามทกี่ ําหนดไวในขนทั้ ี่ 1 แตละขั้นตอนมีรายละเอียดโดยสรุป ดังนี้ ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผเรู ียนที่ตองการ(Identify desired results)คือ ครูผูสอนจะตองว ิเคราะหใหไดวา ในหลักสูตร/มาตรฐานการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ออกแบบ กําหนดไววาผเรู ียนจะตองมีความรูความเขาใจเรื่องอะไร ตองมีความสามารถทําอะไรได และสาระ/ความรูและความสามารถอะไร ที่ควรเปนความเขาใจคงทนที่ติดตัวผูเรียนไปเปนเวลานาน (Enduring understandings- “ความเขาใจที่คงทน”) ในการจัดทําหนวยการเรียนรูและกาหนดความร ํ ู ความสามารถ ของผูเรียนที่ตองการใหเกิดขึ้นนี้ครูผสอนต ู องพิจารณาพันธกิจเปาประสงคและ คุณลักษณะอนพั ึงประสงคของหล ักสูตรสถานศึกษาและพิจารณามาตรฐานการเรียนรูของหนวยการเรียนรู ที่กําลังออกแบบการจัดการเรียนรูดวย ในขั้นแรกนี้มวีิธีการพิจารณาเพื่อการเตรียมการจัดการเรยนร ี ูใหชัดเจนขึ้น ซึ่ง Wiggins และ McTighe แนะนําใหใช กรอบความคิด 3 วง เปนเกณฑการพ ิจารณาเพื่อการจัดลําดับเนอหาสาระท ื้ ี่จะ ใหกับผูเรยนได ี
ที่มา ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศกสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.
)
การออกแบบการจัดการเรียนรูโดยวิธี Backward Design หลักการแนวคิด Backward Design Backward Design หรือการออกแบบยอนกลับ เปนกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู ที่กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตาม มาตรฐานการเรียนรูหรือตามผลการเรียนรูที่คาดหวังกอน แลวจึงออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหผูเรยนม ี ีความรูความสามารถและแสดงความรูความสามารถตามหลักฐานการแสดงออก ของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนที่กําหนดไววธิีนี้ไดเผยแพรโดย Grant Wiggins และ Jay McTighe เมื่อค.ศ.1998 ไดใหแนวการออกแบบการจัดการเรียนรสู ําหรับ 1 หนวยการเรยนร ี ูไว 3 ขั้นตอนใหญๆ ไดแก ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผเรู ียนที่ตองการใหเกิดขึ้น(Identify desired results) ตามมาตรฐานการเรียนรู/ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน ื้ ขั้นที่ 2 กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียนที่ตองการใหเกิดขึ้น หลังจากไดเรียนรูแลว ซึ่งเปนหลักฐานการแสดงออกที่ยอมรับไดวา ผูเรียนมีความรูความสามารถตามที่กําหนดไว (Determine acceptable evidence of learning) ขั้นที่ 3 ออกแบบการจัดประสบการณการเรียนรู(Plan learning experiences and instruction) เพื่อใหผูเรียนไดแสดงออกตามหลักฐานการแสดงออกที่ระบุไวในขนทั้ ี่ 2 เพื่อเปนหลักฐานวา ผูเรียนมี ความรูความสามารถตามทกี่ ําหนดไวในขนทั้ ี่ 1 แตละขั้นตอนมีรายละเอียดโดยสรุป ดังนี้ ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผเรู ียนที่ตองการ(Identify desired results)คือ ครูผูสอนจะตองว ิเคราะหใหไดวา ในหลักสูตร/มาตรฐานการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ออกแบบ กําหนดไววาผเรู ียนจะตองมีความรูความเขาใจเรื่องอะไร ตองมีความสามารถทําอะไรได และสาระ/ความรูและความสามารถอะไร ที่ควรเปนความเขาใจคงทนที่ติดตัวผูเรียนไปเปนเวลานาน (Enduring understandings- “ความเขาใจที่คงทน”) ในการจัดทําหนวยการเรียนรูและกาหนดความร ํ ู ความสามารถ ของผูเรียนที่ตองการใหเกิดขึ้นนี้ครูผสอนต ู องพิจารณาพันธกิจเปาประสงคและ คุณลักษณะอนพั ึงประสงคของหล ักสูตรสถานศึกษาและพิจารณามาตรฐานการเรียนรูของหนวยการเรียนรู ที่กําลังออกแบบการจัดการเรียนรูดวย ในขั้นแรกนี้มวีิธีการพิจารณาเพื่อการเตรียมการจัดการเรยนร ี ูใหชัดเจนขึ้น ซึ่ง Wiggins และ McTighe แนะนําใหใช กรอบความคิด 3 วง เปนเกณฑการพ ิจารณาเพื่อการจัดลําดับเนอหาสาระท ื้ ี่จะ ใหกับผูเรยนได ี
ที่มา ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศกสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1.
)
วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2558
สัปดาห์ที่ 5
การศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education)
ความหมายของ “การศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์” (Outcome-based Education)
การศึกษาของประเทศไทยนั้นส่วนใหญ่เป็นการศึกษาที่มุ่ง “ใส่” เนื้อหาให้ผู้เรียน (Input-based Education) เราคิดว่านักเรียนนักศึกษาควรจะต้องมีความรู้อะไร เราก็จะ “ใส่ความรู้” (Input) เข้าไป โดย วิธีการ “บรรยาย” ให้ฟัง และบังคับให้จำด้วยการ “สอบ” การเรียนรู้ของนักเรียนนักศึกษาไทยจึงเป็นหรือ การเรียนรู้จากการฟังบรรยาย (Lecture-based Learning) โดยอาจารย์เป็นศูนย์กลางของการศึกษา (Teacher-centered) การศึกษาเช่นนี้มุ่งการ “จ า” ไม่ได้มุ่งที่การ “คิด” เพราะถ้าหากว่า “คิด” แล้วไม่เหมือนอาจารย์และตอบข้อสอบต่างจากที่อาจารย์สอนก็จะไม่ได้คะแนน สิ่งที่ทำให้มนุษย์เหนือกว่า สิ่งมีชีวิตชนิดอื่นทั้งหมดในโลกใบนี้ ก็เพราะมนุษย์มีความสามารถในการ “คิด” เมื่อคิดเป็นก็วิเคราะห์ ปัญหาได้หาสาเหตุได้และหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ แต่เรากลับให้นักเรียนนักศึกษาของเรา “จำ”โดยไม่ มุ่งให้ “คิด” การศึกษาไทยจึงไม่สามารถสร้าง “คน” ที่มีความเข้มแข็งให้กับสังคมได้ต่อให้มีความรู้ก็ใช้ ความรู้ไม่เป็น และมักจะใช้ความรู้โดยไม่รับผิดชอบ
สมรรถนะ 5 ด้าน ที่ต้องประเมิน
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการแก้ปัญหา
ทักษะที่สำคัญใน ศตวรรษที่ 21
1 ทักษะการเรียน
- นวัตกรรมและการสร้างสรรค์
- การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา
- การสื่อสารและการร่วมมือกัน
2 ทักษะการใช้สื่อและเทคโนโลยี
- การอ่านออกเขียนได้ด้านข้อมูลข่าวสาร สื่อ และ ICT
3 ทักษะการใช้ชีวิต
- ทักษะที่ยืดหยุ่นและสามารถปรับตัวได้ ริเริ่มและเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
- ทักษะทางสังคมและก้าวข้ามวัฒนธรรม
- มีความรับผิดชอบ
- สามารถผลิตสร้างสรรค์งานได้
- ทักษะทางสังคมและก้าวข้ามวัฒนธรรม
- มีความรับผิดชอบ
- สามารถผลิตสร้างสรรค์งานได้
Thinking Development
Analytical Thinking (การคิดวิเคราะห์)
System Thinking (การคิดเป็นระบบ)
Critical Thinking (การคิดสังเคราะห์)
Reflective Thinking (การสะท้อนคิด)
Logical Thinking (การคิดแบบตรรกะ)
Analogical Thinking (การคิดเชิงเปรียบเทียบ)
Practical Thinking (การคิดแบบลงมือปฏิบัติ)
Deliberative Thinking (การคิดแบบบูรณาการ)
Creative Thinking (การคิดสร้างสรรค์)
Team Thinking (การคิดเป็นทีม)
สรุป
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ ผู้สอนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนและแนวทางของตัวผู้สอนเอง สิ่งที่ต้องทำคือ “การลงมือทำ” ซึ่งเปรียบเหมือนกับการทำอาหาร ที่ไม่มีใครทำอาหารเป็นมาตั้งแต่เกิด ในตอนแรกที่เรายังทำอาหารไม่เป็น ก็ต้องเปิด “ตำราทำอาหาร” และทำตามขั้นตอนที่เขียนไว้ในตำรา โดยพ่อครัวหรือแม่ครัวสามารถ “ปรุง” ให้เหมาะสมและถูกปากผู้รับประทานได้ เมื่อทำไปเรื่อย ๆ แล้วก็จะค่อย ๆ ทำอาหารเป็น จึงเกิดการเรียนรู้และ ทักษะ จนกระทั่งทำอาหารข้าวเป็นด้วยตนเอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)