วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2558

เรื่อง การประยุกต์ใช้ UNESCO Model

สัปดาห์ที่ 7 เรื่อง การประยุกต์ใช้ UNESCO Model

      การออกแบบการจัดการเรียนรูโดยวิธี Backward Design หลักการแนวคิด Backward Design Backward Design หรือการออกแบบยอนกลับ เปนกระบวนการออกแบบการจัดการเรียนรู ที่กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตาม มาตรฐานการเรียนรูหรือตามผลการเรียนรูที่คาดหวังกอน แลวจึงออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหผูเรยนม ี ีความรูความสามารถและแสดงความรูความสามารถตามหลักฐานการแสดงออก ของผูเรียน/กิจกรรมการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนที่กําหนดไววธิีนี้ไดเผยแพรโดย  Grant Wiggins และ Jay McTighe เมื่อค.ศ.1998 ไดใหแนวการออกแบบการจัดการเรียนรสู ําหรับ 1 หนวยการเรยนร ี ูไว 3 ขั้นตอนใหญๆ ไดแก  ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผเรู ียนที่ตองการใหเกิดขึ้น(Identify desired results) ตามมาตรฐานการเรียนรู/ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพนฐาน ื้ ขั้นที่ 2 กําหนดหลักฐานการแสดงออกของผูเรียนที่ตองการใหเกิดขึ้น หลังจากไดเรียนรูแลว ซึ่งเปนหลักฐานการแสดงออกที่ยอมรับไดวา ผูเรียนมีความรูความสามารถตามที่กําหนดไว (Determine acceptable evidence of learning) ขั้นที่ 3 ออกแบบการจัดประสบการณการเรียนรู(Plan learning experiences and instruction) เพื่อใหผูเรียนไดแสดงออกตามหลักฐานการแสดงออกที่ระบุไวในขนทั้ ี่ 2 เพื่อเปนหลักฐานวา ผูเรียนมี ความรูความสามารถตามทกี่ ําหนดไวในขนทั้ ี่ 1 แตละขั้นตอนมีรายละเอียดโดยสรุป ดังนี้ ขั้นที่ 1 กําหนดความรูความสามารถของผเรู ียนที่ตองการ(Identify desired results)คือ ครูผูสอนจะตองว  ิเคราะหใหไดวา ในหลักสูตร/มาตรฐานการเรียนรูของหนวยการเรียนรูที่ออกแบบ กําหนดไววาผเรู ียนจะตองมีความรูความเขาใจเรื่องอะไร ตองมีความสามารถทําอะไรได และสาระ/ความรูและความสามารถอะไร ที่ควรเปนความเขาใจคงทนที่ติดตัวผูเรียนไปเปนเวลานาน (Enduring understandings- “ความเขาใจที่คงทน”) ในการจัดทําหนวยการเรียนรูและกาหนดความร ํ ู ความสามารถ ของผูเรียนที่ตองการใหเกิดขึ้นนี้ครูผสอนต ู องพิจารณาพันธกิจเปาประสงคและ คุณลักษณะอนพั ึงประสงคของหล  ักสูตรสถานศึกษาและพิจารณามาตรฐานการเรียนรูของหนวยการเรียนรู ที่กําลังออกแบบการจัดการเรียนรูดวย ในขั้นแรกนี้มวีิธีการพิจารณาเพื่อการเตรียมการจัดการเรยนร ี ูใหชัดเจนขึ้น ซึ่ง Wiggins และ McTighe แนะนําใหใช กรอบความคิด 3 วง เปนเกณฑการพ  ิจารณาเพื่อการจัดลําดับเนอหาสาระท ื้ ี่จะ ใหกับผูเรยนได ี 

ที่มา ดร.เฉลิม ฟกออน. ศึกษานิเทศกสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1. 


)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น